Sunday, June 20, 2010

Teaching Writing Skills

By Kenneth Beare, About.com Guide
Teaching Writing: Strategies
The most important factor in writing exercises is that students need to be personally involved in order to make the learning experience of lasting value. Encouraging student participation in the exercise, while at the same time refining and expanding writing skills, requires a certain pragmatic approach. The teacher should be clear on what skills he/she is trying to develop. Next, the teacher needs to decide on which means (or type of exercise) can facilitate learning of the target area. Once the target skill areas and means of implmentation are defined, the teacher can then proceed to focus on what topic can be employed to ensure student participation. By pragmatically combing these objectives, the teacher can expect both enthusiasm and effective learning.

Choosing the target area depends on many factors; What level are the students?, What is the average age of the students, Why are the students learning English, Are there any specific future intentions for the writing (i.e school tests or job application letters etc.). Other important questions to ask oneself are: What should the students be able to produce at the end of this exercise? (a well written letter, basic communication of ideas, etc.) What is the focus of the exercise? (structure, tense usage, creative writing). Once these factors are clear in the mind of the teacher, the teacher can begin to focus on how to involve the students in the activity thus promoting a positive, long-term learning experience.

Having decided on the target area, the teacher can focus on the means to achieve this type of learning. As in correction, the teacher must choose the most appropriate manner for the specified writing area. If formal business letter English is required, it is of little use to employ a free expression type of exercise. Likewise, when working on descriptive language writing skills, a formal letter is equally out of place.

With both the target area and means of production, clear in the teachers mind, the teacher can begin to consider how to involve the students by considering what type of activities are interesting to the students; Are they preparing for something specific such as a holiday or test?, Will they need any of the skills pragmatically? What has been effective in the past? A good way to approach this is by class feedback, or brainstorming sessions. By choosing a topic that involves the students the teacher is providing a context within which effective learning on the target area can be understaken.

Finally, the question of which type of correction will facilitate a useful writing exercise is of utmost importance. Here the teacher needs to once again think about the overall target area of the exercise. If there is an immediate task at hand, such as taking a test, perhaps teacher guided correction is the most effective solution. However, if the task is more general (for example developing informal letter writing skills), maybe the best approach would be to have the students work in groups thereby learning from each other. Most importantly, by choosing the correct means of correction the teacher can encourage rather discourage students.

http://esl.about.com/cs/teachingtechnique/a/a_twrite.htm

Monday, June 1, 2009

การนำเสนอผลงานWebQuest Project

ผลงานของข้าพเจ้า คือโครงการบทเรียนเว็บเควส ชั้นประถมศึกษาปีที่1กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง ฟังมา...เล่าไป ซึ่งได้จากการศึกษาโครงสร้างหลักสูตรรายวิชา ภาษาไทย1 หลังจากที่กลุ่มของข้าพเจ้าร่วมกันออกแบบโครงสร้างหลักสูตรรายวิชาเสร็จ จึงเลือกหน่วยการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับการทำ WebQuest โดยนำมาจาก สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1
ตัวชี้วัด 2 ตอบคำถาม และเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้ และ ความบันเทิง
ตัวชี้วัด 3 พูดแสดงความคิดเห็นและ ความรู้สึก จากเรื่องที่ฟังและดู
ตัวชี้วัด 4 พูดสื่อสารได้ตามวัตถุ ประสงค์
หลังจากที่กลุ่มของข้าพเจ้าร่วมกันออกแบบโครงสร้างหลักสูตรรายวิชาเสร็จ จึงเลือกหน่วยการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับการทำ WebQuest โดยเน้นในสาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด
ซึ่งข้าพเจ้าเล็งเห็นว่า นักเรียนควรเรียนรู้ในสิ่งที่ใกล้ตัว และคุ้นเคย ซึ่งนิทานก็เป็นสิ่งที่นักเรียน ทุกคนคุ้นเคยและชื่นชอบ นอกจากนี้นิทานยังช่วยเสริมสร้างจินตนาการและสามารถสอดแทรก คุณธรรมให้แก่นักเรียนได้เป็นอย่างดี การออกแบบโดยนำจุดประสงค์หรือผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ซึ่งข้าพเจ้านำมาคิดหา Task ที่น่าจะเหมาะสมกับ วิชา ระดับอายุของผู้เรียน จึงตัดสินใจเลือก Design Task เพราะนักเรียนจะมีโอกาสได้ออกแบบวิธีการเล่านิทานตามความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
จากนั้นจัดวางโครงร่างเว็บเควสโดยเริ่มเขียนโครงการการจัดทำหน่วย/บทเรียนเว็บเควส กิจกรรมเว็บเควส เพื่อให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้เกี่ยวกับวิธีการเล่านิทาน เว็บไซต์หลายเว็บไซต์เลือกใช้ Web ที่เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของนักเรียน และเนื้อหาที่จะสอน โดยเลือกนิทานที่ดีทั้งทางด้านเนื้อหา มีภาพประกอบดึงดูดความสนใจของผู้เรียนและ สอดแทรกคุณธรรมที่นักเรียนควรมี นอกจากนี้ ให้แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติมสำหรับผู้เรียนที่ต้องใช้ในการทำกิจกรรม และตั้งเป้าหมายว่าผู้เรียนต้องได้ความรู้เพียงพอที่จะทำผลงานชิ้นสุดท้ายได้สำเร็จเช่น ตัวอย่างการเล่านิทานที่ดีและไม่ดีเพื่อให้นักเรียนเปรียบเทียบ และออกแบบกิจกรรมใน WebQuest ซึ่งจะเป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้ความรู้ด้วยการศึกษาด้วยตนเอง
เมื่อจัดหา Resources ได้แล้ว จึงเริ่มเขียนบทนำที่กระตุ้นให้นักเรียนเกิดแรงบันดาลใจที่จะทำงาน และเป็นการกล่าวจุดประสงค์ของ WebQuest ให้ทราบโดยทางอ้อม
จากนั้น จึงให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อปฏิบัติตามกระบวนการที่กำหนดไว้ในProcess แต่ละขั้นตอน ครูจะประเมินผลงานจาก Rubic ตามเกณฑ์การประเมินที่กำหนดค่าคะแนนไว้ชัดเจนเมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติตามขั้นตอนทั้งหมดสุดท้ายนักเรียนใช้ทักษะที่ได้เรียนมา